DO’S DON’TS ข้อปฏิบัติระหว่างกักตัวเอง 14 วัน

พี่เนิร์สมีข้อปฏิบัติระหว่างกักตัวเอง 14 วัน มาฝากกันค่ะ

DO'S DON’TS ข้อปฏิบัติระหว่างกักตัวเอง 14 วัน

ช่วงสถานการณ์ COVID-19 ที่กำลังระบาดหนักในประเทศไทย สำหรับใครที่เดินทางกลับมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยงโรค COVID-19 หรือมีประวัติสัมผัสกับผู้ติดเชื้อ ควร-ไม่ควรทำอะไรบ้าง?

Do’s

  • ใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาแม้อยู่ในที่พัก พร้อมทั้งคอยเช็กอาการและวัดไข้ทุกวัน
  • ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่อย่างน้อยครั้งละ 20 วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ ความเข้มข้นอย่างน้อย 70% อยู่เสมอ
  • ควรอาศัยอยู่ในห้องเฉพาะ และอยู่ห่างจากคนอื่นในบ้าน
  • หากมีอาการผิดปกติ เช่น มีไข้สูงหลายวัน ไอแห้งๆ มีน้ำมูก เจ็บคอ เหนื่อยหอบ หรือหายใจลำบาก ให้รีบไปพบแพทย์หรือหน่วยงานทันที หรือโทร. 1422 กรมควบคุมโรค

Don’ts

  • ไม่ไปสถานที่ทำงาน หรือที่อื่นใด ให้เฝ้าระวังอาการอยู่บ้านอย่างน้อย 14 วัน
  • ห้ามใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับคนอื่น เช่น จานชาม ช้อนส้อม แก้วน้ำ ผ้าเช็ดตัว เครื่องนอน
  • งดรับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น ใช้ภาชนะและทานอาหารส่วนตัวเท่านั้น
  • หลีกเลี่ยงใกล้ชิดกับผู้อื่นอย่างน้อย 2 เมตร โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังต่าง ๆ

เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่เชื้อให้คนอื่น เราต้องปฏิบัติตามคำแนะนำข้างต้นอย่างเคร่งครัดนะคะ

Related Articles

12 ท่าแพลงก์ยอดฮิต ลดพุงวันละนิด 4 สัปดาห์เห็นผล

ท่าแพลงก์ เป็นหนึ่งในท่าการออกกำลังกายที่คนนิยมมากที่สุด เนื่องจากไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ใด ๆ และเป็นท่าที่เห็นผลอย่างมีประสิทธิภาพ หากทำบ่อยๆอย่างมีวินัย ก็สามารถฟิต แอนด์ เฟิร์มร่างกายได้ วันนี้พี่เนิร์สจะมาแนะนำ 12 ท่าแพลงก์ทำตามไม่ยากค่ะ 1. ท่าแพลงก์ปกติ (Basic Plank) วิธีฝึก 1. เริ่มต้นด้วยท่านอนคว่ำ เหยียดตัวตรง เกร็งคอ และศีรษะลอยจากพื้น 2. ตั้งศอกทั้ง 2…

Long Covid เจ็บ…แต่ไม่จบของคนเคยติดเชื้อ covid-19

Long Covid คืออะไร ? อ้างอิงจากนิยามองค์การอนามัยโลก ประกาศ ณ วันที่ 6 ตุลาคม 2564 ระบุว่า เป็นอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นใหม่หรือต่อเนื่องภายหลังการติดเชื้อโควิด-19 หลังจากรักษาหายแล้ว แต่หลายคนยังรู้สึกเหมือนยังไม่หายดี ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นมีความหลากหลายและอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล โดยอาจเป็นอาการที่เกิดขึ้นใหม่ หรือเป็นอาการที่หลงเหลืออยู่หลังรักษาหาย ส่วนมากตั้งแต่ 3 เดือน นับจากวันตรวจพบเชื้อ และมีอาการต่อเนื่องอย่างน้อย 2 เดือน…

ดูแลเด็กอย่างไรให้ปลอดภัยจาก COVID-19

ยอดผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้พ่อแม่รู้สึกกังวลต่อสุขภาพของเด็ก พี่เนิร์สเลยจะมาบอกวิธีการดูแลเด็กในช่วงโควิด-19 ให้ทุกคนทราบกันค่ะ

ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ

สวัสดีค่ะ พี่น้อง nurse soulciety ทุกท่าน หลังจากพี่เนิร์สเผยแพร่เนื้อหาภาวะหลอดเลือดดำอักเสบไปแล้วนั้น วันนี้เราจะมาทบทวนความรู้ของภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาทางหลอดเลือดดำส่วนปลายอีกอย่างหนึ่ง ที่สำคัญมากๆ คือ ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ ส่งผลทำให้เกิดการติดเชื้อที่ตำแหน่งการให้ยา และติดเชื้อในกระแสเลือดได้ ทำให้ต้องรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่ารักษาพยาบาลมากขึ้น ดังนั้นพยาบาลควรมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกัน เฝ้าระวัง ประเมินการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยาหรือสารน้ำ และจัดการเมื่อเกิดภาวะดังกล่าว ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ สามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ภาวะรั่วซึมของยาหรือสารน้ำออกนอกหลอดเลือดดำ…

Responses