Dopamine injection

Dopamine injection

รูปแบบยาและความแรง :

  1. Dopamine injection 200 mg/5ml (40mg/ml) ,50mg/5ml (10mg/ml)
  2. Inopin (Dopamine) 250 mg/10 ml (25mg/ml), 500mg/10 ml (50 mg/ml)

*** ควรมีการตรวจสอบรูปแบบที่มีอยู่ในแต่ละโรงพยาบาล

กลุ่มยาทางเภสัชวิทยา : Cardiogenic drug

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ (onset) ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด (peak)
1-2 นาที10 นาที
Peak < 5 นาที
Duration < 10 นาที

ข้อบ่งใช้ (Indication)

1. Low cardiac output

2. Hypotension

3. Poor perfusion of vital organ

นาดและวิธีการบริหารยาโดยทั่วไป

เด็ก : 1-20 mcg/kg/min ขนาดสูงสุด 50 mcg/kg/min

ผู้ใหญ่ : 1-5 mcg/kg/min อาจให้ได้ถึง 20 mcg/kg/min (maximum 50 mcg/kg/min)

Dose ขนาดยา ข้อบ่งใช้
Low dose2-5 mcg/kg/minเพิ่ม renal blood flow, เพิ่ม urine output
Intermediate dose5-15 mcg/kg/minเพิ่ม cardiac output
High dose15 mcg/kg/minเพิ่ม total peripheral resistance, Blood pressure, pulmonary pressure (Maximum dose : 50 mcg/kg/min)
  • อาจเพิ่มได้ 1 – 4 mcg/kg/min ในช่วง 10 – 30 นาที จนกระทั่งมีการตอบสนอง
  • หากขนาดที่ใช้สูงกว่า 20 -30 mcg/kg/min ควรคำนึงถึงการใช้ Adrenaline หรือ Norepinephrine
  • ในกรณีที่ต้องใช้ขนาดยาเกิน 50 mcg/kg/min ต้องตรวจสอบ urine output บ่อยๆ หาก urine flow ลดลงควรพิจารณาปรับลดขนาดที่ใช้ลง

การผสม ความคงตัวของยา และความเข้ากันได้

  • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
  • สารน้ำที่เข้ากันได้ ได้แก่ D5W, D5S, NSS, D5S/2, LR
  • ห้ามให้ Sodium bicarbonate หรือสารละลายที่เป็นด่างทางสายเดียวกัน เพราะทำให้ Dopamine หมดฤทธิ์ได้
  • ยาที่ผสมแล้วใช้ได้ภายใน 24 ชั่วโมง(ป้องกันแสง) แต่ถ้าสารละลายเปลี่ยนสีจากสีเหลืองอ่อนๆเป็นสีเข้มขึ้น หรือเปลี่ยนเป็นสีชมพูต้องทิ้งทันที

ารบริหารยา

  • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
  • ควรให้ IV infusion ผ่าน infusion pump
  • อัตราเร็วสูงสุดในการให้ยา 20 mcg/kg/min
  • การเพิ่ม/ลดยาขนาดยาควรปรับขนาดอย่างช้าๆ ห้ามหยุดยากระทันหันเพราะอาจมีผลต่อความดันโลหิตอย่างทันที

อาการไม่พึงประสงค์

  • คลื่นไส้ อาเจียน
  • ความดันโลหิตสูง
  • หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
  • ปลายมือปลายเท้าเขียว
  • หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทำให้เกิดเนื้อตายได้
  • อาการแพ้ยา เช่น หอบเหนื่อย หายใจลำบาก

การติดตามการให้ยาผู้ป่วย

ค่าการติดตามช่วงเวลาในการติดตามรายงานแพทย์เมื่อ (Critical point)
BPทุก 15 นาที X 4 ครั้ง และจากนั้นทุก 4 ชั่วโมงBP<90 mmHg หรือ BP >160/100 mmHg
HRทุก 1 ชั่วโมงHR > 120 ครั้ง/นาที
Urine outputทุก 1 ชั่วโมงUrine output < 25 ml/hr
ผิวซีดเย็นหรือเขียวทุก 1 ชั่วโมงพบผิวซีดเย็นหรือเขียว
ตรวจ IV siteทุก 1 ชั่วโมงพบหลอดเลือดอักเสบ(ให้เปลี่ยนตำแหน่งที่ให้ยา)

ระวังการใช้ร่วมกับยา

  • Phenytoin อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความดันต่ำ, Bradycardia หัวใจเต้นช้า
  • Linezolid จะเพิ่มขนาดของ Dopamine
  • Ergot จะเสริมฤทธิ์ vasoconstriction

แหล่งที่มา

  • High-alert drug โรงพยาบาลราชวิถี
  • คู่มือการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง(High Alert Drugs : HAD), ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยาโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Related Articles

ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ

สวัสดีค่ะ พี่น้อง nurse soulciety ทุกท่าน หลังจากพี่เนิร์สเผยแพร่เนื้อหาภาวะหลอดเลือดดำอักเสบไปแล้วนั้น วันนี้เราจะมาทบทวนความรู้ของภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาทางหลอดเลือดดำส่วนปลายอีกอย่างหนึ่ง ที่สำคัญมากๆ คือ ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ ส่งผลทำให้เกิดการติดเชื้อที่ตำแหน่งการให้ยา และติดเชื้อในกระแสเลือดได้ ทำให้ต้องรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่ารักษาพยาบาลมากขึ้น ดังนั้นพยาบาลควรมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกัน เฝ้าระวัง ประเมินการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยาหรือสารน้ำ และจัดการเมื่อเกิดภาวะดังกล่าว ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ สามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ภาวะรั่วซึมของยาหรือสารน้ำออกนอกหลอดเลือดดำ…

การบริหารจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง

เนื่องด้วยรายการยาที่มีอยู่จำนวนมาก แต่ละรายการอาจมีอันตรายที่มีความรุนแรงต่างกัน การที่จะระมัดระวังป้องกันหรือจัดการให้เกิดความปลอดภัยอาจจะทำได้ยาก จึงเกิดแนวคิดเรื่องยาที่ควรให้ความสำคัญมากเป็นพิเศษ

โรคที่มากับหน้าฝน

ในฤดูฝน มีใครชอบบรรยากาศฝนตกในวันหยุดเหมือนพี่เนิร์สบ้างมั้ยคะ แต่ในฤดูฝน อากาศเริ่มเย็นลงและมีความชื้นสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศนี้ อาจส่งผลต่อสุขภาพของทุกคนได้ค่ะ ฤดูฝนเป็นสาเหตุทำให้โรคหลายชนิดสามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและรวดเร็ว พี่เนิร์สขอนำข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่สำคัญที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในฤดูนี้ มาฝากค่ะ ข้อมูลจาก กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค ได้ออกประกาศเตือนประชาชนในการป้องกันโรคติดต่อ ที่มักเกิดขึ้นในฤดูฝน โดยมี 5 กลุ่ม ได้แก่  1.กลุ่มโรคติดต่อของระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย  โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน บิด ไทฟอยด์ อาหารเป็นพิษ  โรคเหล่านี้เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อจุลชีพ ที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร…

CPR การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (ผู้ใหญ่/เด็ก/ทารก)

การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน CPR คืออะไร? CPR ย่อมาจากคำว่า Cardiopulmonary resuscitation หมายถึง ปฏิบัติการช่วยชีวิตยามฉุกเฉินเพื่อให้ปอดและหัวใจฟื้นคืนชีพขึ้นมา ก่อนถึงมือแพทย์เพื่อให้การรักษาเฉพาะต่อไป การทำ CPR เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อช่วยคืนชีวิตให้กับผู้ป่วย โดยผสมผสานระหว่าง การผายปอด เพื่อช่วยเพิ่มอากาศเข้าไปในปอด การกดหน้าอกบนตำแหน่งหัวใจ เพื่อช่วยให้หัวใจปั๊มเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนส่งต่อออกซิเจนไปยังอวัยวะต่าง ๆ เมื่อไหร่ถึงจะทำ CPR?การทำ CPR มักจะใช้สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉินที่หมดสติ…

วิธีขับรถลุยน้ำท่วม (ไม่ให้ดับ-พัง)

จากสถานการณ์ฝนตกหนัก ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมขังในบางพื้นที่ วันนี้เรามี 6 เทคนิค เตรียมพร้อมหากผู้ใช้รถจำเป็นต้องขับรถลุยน้ำท่วม เพื่อป้องกันรถดับและเครื่องพัง ดังนี้ 1.ปิดแอร์รถยนต์ทันที   ปิดแอร์รถจะช่วยลดระดับน้ำที่กระจายเข้าห้องเครื่องได้ถึงครึ่งเลยทีเดียว   เพราะพัดลมแอร์จะพัดน้ำเข้าไปในเครื่องทำให้มีโอกาสน็อกได้   และควรระวังขยะที่ลอยมากับน้ำจะเข้าไปติดมอเตอร์พัดลม  อาจทำให้ระบบระบายความร้อนในเครื่องยนต์พังได้เช่นกัน 2.ใช้เกียร์ต่ำ  เพื่อประคองเครื่องยนต์ไม่ให้ดับ หากเป็นรถยนต์เกียร์ออโต้ให้ใช้เกียร์ L รถยนต์เกียร์ธรรมดาให้ใช้เกียร์ 1 หรือ 2 3.เคลื่อนรถช้าๆลดความเร็ว  เพราะน้ำที่กระแทกฟุตบาทจะกลับเข้ารถ…