อาการบวมน้ำ

อาการบวมน้ำ

Pitting Edema มีกี่แบบนะ จำไม่ค่อยได้แล้วค่ะ พรุ่งนี้ก็จะเริ่มฝึกงานเป็นวันแรก รบกวนพี่เนิร์สช่วยหนูด้วยนะคะ

คำถามหลังไมค์ที่ส่งเข้ามา พี่เนิร์สจัดให้ค่ะ กับวิธีการประเมินอาการบวมน้ำ ให้น้อง ๆ เก็บไว้ทบทวนความรู้ สรุปมาแบบเข้าใจง่าย หวังว่าคงถูกใจทุกคนนะคะ

อาการบวมน้ำ

การประเมินอาการบวมน้ำ (Pitting Edema Scale) เป็นการประเมินผู้ป่วยเบื้องต้นถึงภาวะความสมดุลของสารน้ำออกจากร่างกาย ใช้ในกลุ่มผู้ป่วย โรคหัวใจ โรคไต และผู้ป่วยทางด้านอายุรกรรมทั่วไป

อาการบวมน้ำจะตรวจได้ง่าย ที่บริเวณหน้าแข้ง ข้อเท้า และหลังเท้า โดยกดที่บริเวณดังกล่าวนาน 5 วินาที แล้วประเมินระดับความบวมน้ำ

การประเมินอาการบวมที่พบได้ คือ…

  • None: ไม่มีอาการบวม
  • Generalized: บวมทั่วร่างกายหรือทั่ว ๆ ไป
  • Location: ตำแหน่งบริเวณที่บวมระบุชัดเจน
  • Pitting: อาการบวม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1) อาการบวมกดไม่บุ๋ม (Non-Pitting Edema)
2) อาการบวมกดบุ๋ม (Pitting Edema) แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้

ระดับ 1+ กดบุ๋มที่ผิวหนังลึก 2 มิลลิเมตร
ผลการสังเกต : มองไม่เห็นรอยบุ๋มชัดเจน หายไปอย่างรวดเร็ว

ระดับ 2+ กดบุ๋มลึก 4 มิลลิเมตร
ผลการสังเกต : รอยบุ๋มหายภายในเวลา 15 วินาที

ระดับ 3+ กดบุ๋มลึก 6 มิลลิเมตร
ผลการสังเกต : รอยบุ๋มอยู่นานเป็นนาที

ระดับ 4+ กดบุ๋มลึก 8 มิลลิเมตร
ผลการสังเกต : รอยบุ๋มหายไปได้ยาก นานเกิน 2 นาที

พี่น้องพยาบาลและนักศึกษาพยาบาล สามารถส่งคำถามมาได้ตลอดเลยนะคะ แล้วพี่เนิร์สจะมาไขข้อสงสัยให้ค่ะ ^^

Related Articles

12 ท่าแพลงก์ยอดฮิต ลดพุงวันละนิด 4 สัปดาห์เห็นผล

ท่าแพลงก์ เป็นหนึ่งในท่าการออกกำลังกายที่คนนิยมมากที่สุด เนื่องจากไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ใด ๆ และเป็นท่าที่เห็นผลอย่างมีประสิทธิภาพ หากทำบ่อยๆอย่างมีวินัย ก็สามารถฟิต แอนด์ เฟิร์มร่างกายได้ วันนี้พี่เนิร์สจะมาแนะนำ 12 ท่าแพลงก์ทำตามไม่ยากค่ะ 1. ท่าแพลงก์ปกติ (Basic Plank) วิธีฝึก 1. เริ่มต้นด้วยท่านอนคว่ำ เหยียดตัวตรง เกร็งคอ และศีรษะลอยจากพื้น 2. ตั้งศอกทั้ง 2…

การประเมินทางระบบประสาท (Neurological signs)

การประเมินทางระบบประสาทมีเครื่องมือหลายอย่าง วันนี้พี่เนิร์สนำความรู้เรื่องแบบประเมินกลาสโกว์โคมาสกอร์(Glasgow Coma Score : GCS) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ประเมินความรู้สึกตัวบาดเจ็บศีรษะ แบบประเมินกลาสโกว์โคมาสกอร์(Glasgow Coma Score : GCS) คือ แบบประเมินที่ใช้อธิบายระดับความรู้สึกตัวในผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะโดยประเมินการทางานของสมองส่วนต่างๆ (Henderson, 2016 ) การบันทึก แบ่งออกเป็น 3 ข้อ คือ การลืมตา (eye opening)…

ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ

สวัสดีค่ะ พี่น้อง nurse soulciety ทุกท่าน หลังจากพี่เนิร์สเผยแพร่เนื้อหาภาวะหลอดเลือดดำอักเสบไปแล้วนั้น วันนี้เราจะมาทบทวนความรู้ของภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาทางหลอดเลือดดำส่วนปลายอีกอย่างหนึ่ง ที่สำคัญมากๆ คือ ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ ส่งผลทำให้เกิดการติดเชื้อที่ตำแหน่งการให้ยา และติดเชื้อในกระแสเลือดได้ ทำให้ต้องรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่ารักษาพยาบาลมากขึ้น ดังนั้นพยาบาลควรมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกัน เฝ้าระวัง ประเมินการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยาหรือสารน้ำ และจัดการเมื่อเกิดภาวะดังกล่าว ภาวะรั่วซึมของสารน้ำหรือยาออกนอกหลอดเลือดดำ สามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ภาวะรั่วซึมของยาหรือสารน้ำออกนอกหลอดเลือดดำ…

สูตรตื่นนอนสดชื่น อยากตื่นตอนนี้ควรนอนตอนไหน

ปกติแล้วคนเราควรนอนประมาณ 7-9 ชั่วโมงต่อวัน ถึงจะทำให้ร่างกายตื่นมาสดชื่นที่สุด แต่เคยมั้ยที่นอนครบ 8 ชั่วโมงก็แล้ว หรือ บางวันก็นอนเร็วแล้วนะ ไม่ได้นอนดึกเลย ทั้งๆ ที่เราก็นอนเต็มอิ่มแล้ว แต่ทำไมตื่นแล้วกลับรู้สึกง่วง รู้สึกเหนื่อย ไม่สดชื่น หรือบางทีก็ยังเพลียตลอดทั้งวัน !? วันนี้เราไปทำความรู้จักกับ กฎการนอน 90 นาที ที่ว่ากันว่าการใช้วิธีนี้ จะช่วยทำให้เพื่อนๆ ตื่นมาแล้วไม่เพลีย แถมรู้…

การใช้มาตรวัดความเจ็บปวด

สวัสดีค่ะ พี่น้อง nurse soulciety ทุกท่าน การประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วย เป็นบทบาทหนึ่งของพยาบาลที่จะทำการประเมินและจัดการกับความเจ็บปวดให้ผู้ป่วยอย่างเหมาะสม พี่เนิร์สอยากมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่พยาบาลใช้ประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วยแต่ละราย เราเรียกเครื่องมือนี้ว่า มาตรวัดความเจ็บปวด มาติดตามดูกันได้เลยค่ะ มาตรวัดความเจ็บปวด หมายถึง เป็นเครื่องมือที่ใช้เป็นเกณฑ์วัดความเจ็บปวด เนื่องจากความเจ็บปวดเป็นนามธรรม ไม่อาจจับต้องได้บางครั้งผู้ป่วยเป็นเด็กเล็ก ผู้ป่วยวิกฤต หรือผู้ป่วยที่ขยับเขยื้อนไม่ได้ เป็นต้น จำเป็นที่เราต้องมีเครื่องมือที่เหมาะสมในการวัดสำหรับผู้ป่วยเหล่านี้ เครื่องมือในการประเมินความปวด ได้แก่ Neonatal Infant Pain…

Responses